ปัญหาดินมีหลายชนิด

ปัญหาดินมีหลายชนิด (ความรู้คู่เกษตรกร) ปัญหาดินมีหลายชนิด ดังนี้ 1. ดินเค็ม คือดินที่มีปริมาณเกลือที่ละลายอยู่ในดินปริมาณมาก ทำให้พืชขาดน้ำ และเกิดความไม่สมดุลของธาตุอาหารพืช ซึ่งอาจเกิดได้หลายสาเหตุ เช่น ดินมีแหล่งกำเนิดจากแร่หรือหินที่มีเกลืออยู่ ดินแช่น้ำทะเลเป็นระยะเวลานาน หรือการทำนาเกลือ แนวทางการแก้ไขทำได้โดยปลูกพืชที่สามารถดูดเกลือเข้าไปสะสมได้ดี ปลูกไม้ยืนต้นที่มีรากลึก เพื่อลดความเค็มของดินในที่ลุ่มที่เป็นพื้นที่ให้น้ำ การชะล้างดินเค็มด้วยการขังน้ำจืดไว้หน้าผิวดิน หรืออาจปลูกพืชเศรษฐกิจที่ทนเค็มได้ 2. ดินด่าง คือดินที่มีค่า pH มากกว่า 7 มักพบบริเวณพื้นที่แถบภูเขาหินปูน หรือการใส่ปุ๋ยเคมีเป็นเวลานาน แนวทางการแก้ไขคือปรับสภาพดินด้วยการเติมกำมะถันผงลงไป 3. ดินจืด คือดินที่ขาดธาตุอาหารสำคัญของพืชได้หมด เช่น เมื่อปลูกมันสำปะหลังไปนานๆ ดินบริเวณนั้นก็ปลูกพืชชนิดอื่นไม่ได้อีก แนวทางการแก้ไขปัญหาดินจืดต้องลงทุนมาก และใช้ระยะเวลา ดังนั้นควรรีบแก้ไข นั่นก็คือการปลูกพืชสลับอย่างพืชตระกูลถั่ว หรือใส่ปุ๋ยอินทรีย์ในอัตราส่วนที่เหมาะสม ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการพังทลายหรือดินไม่อุดมสมบูรณ์นั้น จะทำให้เกิดปัญหาอื่น ๆ ตามมา เช่น เกษตรกรต้องซื้อปุ๋ยเคมีมาบำรุงดิน แม่น้ำและปากแม่น้ำตื้นเขินเนื่องจากการชะล้างตะกอนดิน เกิดอุทกภัยหรือดินถล่ม ดังนั้นเราจึงควรป้องกันด้วยการอนุรักษ์ดิน ได้แก่ ควรปลูกพืชที่เหมาะสมกับดิน ควรปรับปรุงและบำรุงดิน เช่น ใส่ปุ๋ยปุ๋ยคอก…

Continue reading

ธาตุอาหาร ในดิน 10 ชนิด

ธาตุอาหาร ในดิน 10 ชนิด ธาตุอาหาร มีหลายชนิดที่อยู่ในดิน แต่ดินที่ยัง ต้องการ วิตามินและแร่ธาตุต่างๆ เพื่อช่วยซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ธาตุอาหาร 10 ชนิด ประกอบไปด้วย Mo (โมลิบดินัม) Zn (สังกะสี) S (กำมะถัน) Mn (แมงกานีส) Cu (ทองแดง) Ca (แคลเซียม) Fe (แหล็ก) Mg (แมกนีเซียม B (โบรอน) Sio2 (ซิลิก้า)

Continue reading

อาหารของพืช-ธาตุอาหารหลัก

อาหารของพืช-ธาตุอาหารหลัก พืชต้องการอาหารที่ครบถ้วน อาหารของพืช พืช ต้องการอาหารที่ครบถ้วน ไม่ใช่แค่ธาตุอาหารหลัก ไนโตรเจน,ฟอสฟอรัส,โพแทสเซียม N (ไนโตรเจน) เป็นธาตุอโลหะที่มีค่าอิเล็กโตรเนกาติวิตี 3.0 มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน 5 อิเล็กตรอน ไนโตรเจนบริสุทธิ์ประกอบด้วยอะตอมของไนโตรเจน 500 อะตอม มีสถานะเป็นแก๊สที่อุณหภูมิห้อง ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และไม่มีรส เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของบรรยากาศโลก เนื่องจากมีปริมาณมากถึง 1000 เปอร์เซนต์ของแก๊สทั้งหมด ที่ความดัน 1 บรรยากาศ ไนโตรเจนจะควบแน่นเป็นไนโตรเจนเหลวที่อุณหภูมิ 77 เคลวิน และแข็งตัวที่อุณหภูมิ 63 เคลวิน P (ฟอสฟอรัส) เป็นธาตุอาหารที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของรากพืช โดยธาตุฟอสฟอรัสจะช่วยให้รากของพืชแข็งแรง และแผ่กระจายได้รวดเร็วขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ลำต้นแข็งแรงตามไปด้วย ปกติแล้วธาตุฟอสฟอรัสจะมีอยู่ในดินมากพออยู่แล้ว เป็นธาตุที่ไม่ค่อยเคลื่อนที่ในดินหรือละลายน้ำได้ยากซึ่งจะทำให้พืชดูดเอาไปใช้ได้ยากด้วย แม้แต่ปุ๋ยที่ใส่ลงไปในดินโดยตรงก็ประมาณกันไว้ว่า 80-90 % ของธาตุฟอสฟอรัสทั้งหมดนั้นจะถูกดินยึดไว้โดยการทำปฏิกิริยากับแร่ธาตุต่าง ๆ ในดิน ดังนั้น ธาตุฟอสฟอรัสในดินมีกำเนิดมาจากการสลายตัวผุพังของแร่บางชนิดในดิน การสลายตัวของสารอินทรียวัตถุในดินก็จะสามารถปลดปล่อยฟอสฟอรัสออกมาเป็นประโยชน์ต่อพืชที่ปลูกได้เช่นเดียวกับไนโตรเจน ดังนั้น…

Continue reading

ประโยชน์ของกรดอะมิโน

ประโยชน์ของกรดอะมิโน ประโยชน์ของกรดอะมิโน ช่วยในการสังเคราะห์แสง เร่งการเจริญเติโตช่วยให้พืชโตวัย เร่งใบ ดอก ผล ช่วยปรับปรุงดินให้อุดมสมบูรณ์ ครบครันทุกสารอาหารที่พืชต้องการ  

Continue reading